งานเกษตรแฟร์ 17-27 มีนาคม 2566

เรื่อง : วัดพระอารามหลวงในกลุ่มจังหวัดเบญจบูรพาสุวรรณภูมิ (ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว) = The Temples under the Royal Patronage in the Bencaburapha Suvannabhumi Provincial Cluster (Chachoebgsao, Samut Prakan, Nakhon Nayok, Prachin Buri and Sa Kaeo)
โดย : วชิรพงศ์ มณีนันทิวัฒน์
ผู้แต่งร่วม : เกษมพัฒน์ พูลสวัสดิ์ และคณะมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิน
เลขเรียกหนังสือ: 294.33 ว151ว
ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 2565
รายละเอียดตัวเล่ม : 176 หน้า : ภาพประกอบสี ; 30 ซม.
ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท, 2565
โดย : ณัฐปนนท์ สิงห์ยศ
ผู้แต่งร่วม : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิน
เลขเรียกหนังสือ : 390.09593 ณ336อ 2565
ข้อมูลการพิมพ์ : ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิน
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 2565
รายละเอียดตัวเล่ม : 68 หน้า : ภาพประกอบสี ; 29.5 ซม.
โดย: อารียา บุญทวี
ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น
เลขเรียกหนังสือ: 390.09593 อ663ว 2565
ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2565
รายละเอียดตัวเล่ม: 44 แผ่น : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.
สาระสังเขป : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ร่วมกับ บ้านคลองบางนางจัดทำหนังสือวัฒนธรรมท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้บ้านคลองบางนาง ตำบลท่าข้าม อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อเป็นการเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรมของดีบ้านคลองบางนาง
ผู้แต่งร่วม: จินดา เนื่องจำนงค์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น
เลขเรียกหนังสือ: 390.09593 ผ191 2565
ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2565
รายละเอียดตัวเล่ม: 64 หน้า : ภาพประกอบสี ; 25.5 ซม.
ข้อมูลการพิมพ์ : ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น, ๒๕๖๕
รายละเอียด : ๕ หน้า : ภาพประกอบสี ; ๒๙ ซม.
สาระสังเขป : บทความองค์ความรู้ เรื่อง เรือมด หรือ เรือใบมด เป็นเรือใบที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่๙ ทรงออกแบบและทรงต่อขึ้นมาด้วยพระองค์เอง และได้จดลิขสิทธิ์เป็นสากล ประเภท International Moth Class ที่ประเทศอังกฤษ และพระราชทานชื่อ เรือใบมดแปลงมาจากเรือใบ “ม็อธ” ซึ่งที่มาของชื่อทรงมีรับสั่งว่า “ที่ชื่อมดนั้น เพราะมันกัดเจ็บ ๆ คัน ๆ ดี” ต่อมาทรงพัฒนาเรือแบบต่อๆมาอีกโดยได้พระราชทาน ชื่อว่าเรือใบซุปเปอร์มด และเรือใบไมโครมด
ข้อมูลการพิมพ์ : ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น, ๒๕๖๕
รายละเอียด : ๗ ชุดองค์ความรู้เครื่องใช้ ภูมิปัญญา : ภาพประกอบสี ; ๒๙ ซม.
สาระสังเขป : บทความองค์ความรู้ เรื่องเครื่องใช้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีทั้งหมด ๘ ชุดองค์ความรู้ จัดทำขึ้นเพื่อสะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ประดิษฐ์คิดค้นวัตถุทางวัฒนธรรมเหล่านี้ขึ้นมา อีกทั้งสะท้อนลักษณะการดำรงชีวิตของคนในชุมชนนั้น ๆ เช่น
ชุดที่ ๑ ประกอบด้วย : เตารีดถ่าน, ม้าหั่นยา, มีดหั่นหมาก, หมอนไม้, ตลับเมตรพับ, เชี่ยนหมาก, หมา ภาชนะสำหรับตักน้ำ (ภาษาถิ่นภาคใต้)
ชุดที่ ๒ ประกอบด้วย : ครกกระเดื่อง, คราด, เคียว, เคียวขอ, เครื่องสีข้าวโบราณ, ไม้หาบกล้า, ถังตวงข้าว, ถังตวงหอยแมลงภู่
ชุดที่ ๓ ประกอบด้วย : กระต่ายขูดมะพร้าวม, กระติบ, เครื่องโม่แป้งโบราณ, ตะกร้าล้างปลา, เตาขนมครก, หม้อดิน, หวด, หีบยาเส้น , ไหจู๋ (ไหปลาร้า), ไหซอง,ไหทรงโกศหรือไหเท้าช้าง
ชุดที่ ๔ ประกอบด้วย : งอบ, หมวกกุยเล้ย, หมวกสานด้วยไม้ไผ่, ฝาชี, ตะกร้าก้านมะพร้าว, ตะเกียง,ระหัดวิดน้ำ
ชุดที่ ๕ ประกอบด้วย : ข้อง, แงบ, ไซดักปลา, ลอบ,สุ่ม, อีจู้, ช้อน, ฉมวก
ชุดที่ ๖ ประกอบด้วย : กระจาด,กระจาดหาบ,กระจาดเล็ก,กระชอน,กระด้ง ,ชะลอม,กระบุง,ตะกร้า,สาแหรก,ผลิตภัณฑ์จักสานทองเหลือง
ชุดที่ ๗ ประกอบด้วย : เสวียน,โกก,กระดิ่งคอวัว ,มีดปาดตาล,กระบอกใส่น้ำตาล,เคียวหางแมงป่อง (เคียวเขมร),ตะเกียบนวดงวงตาล,ผลิตภัณฑ์สานด้วยใบตาล, พัดใบตาล,ปืนแก๊ป, หอกใบปรือ,ผาลไถนา,เสือตบก้น
โดย: โยธิน จี้กังวาฬ
ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น
เลขเรียกหนังสือ : 746.66 ย842ก 2564
ข้อมูลการพิมพ์: ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 2564
รายละเอียดตัวเล่ม: 54 หน้า : ภาพประกอบสี ; 28.5 ซม.
สาระสังเขป : การทำผ้ามัดย้อม เป็นศิลปะการมัดผ้าแล้วนำไปย้อมสีเพื่อให้เกิดลวดลายและสีสันสวยงามตามต้องการ เป็นงานหัตถกรรมผ้าอีกประเภทหนึ่งที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ สามารถนำไปพัฒนาเป็นรูปแบบผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาผ้ามัดย้อม ทั้งในเรื่องเทคนิคแบบมัดผ้า วัสดุธรรมชาติที่นำมาสกัดสีย้อม ทำให้มีการศึกษาพัฒนารูปแบบและเทคนิคการทำผ้ามัดย้อมอย่างหลากหลาย
ผู้แต่ง : พระราชเวที เจ้าคณะภาค 12 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพน [บรรณาธิการ] | มูลนิธิสิริวัฒนภักดี.
เลขเรียกหนังสือ : 294.33 ว416 2565
ข้อมูลการพิมพ์ : กรุงเทพฯ : มูลนิธิสิริวัฒนภักดี, 2565