Search for:
สารสนเทศภาคตะวันออก (ไม่มีไฟล์เอกสาร)

ผู้แต่งร่วม : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. นักศึกษาวิชาระบบสารสนเทศสำหรับการบริหาร

เลขเรียกหนังสือ : 915.937 ส675

ข้อมูลการพิมพ์ : ม.ป.ท. : สุทธิกุลสวัสดิ์การพิมพ์, ม.ป.ป.

รายละเอียดตัวเล่ม : 264 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง, แผนที่, แผนภูมิ ; 20.5 ซม.

สาระสังเขป : นักศึกษาวิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์ที่เรียน วิชา ระบบสารสนเทศสำหรับการบริหาร เป็นผู้รวบรวมข้อมูลเพื่อนำเสนออาจารย์ผู้สอน ประกอบการเรียนวิชา ระบบสารสนเทศสำหรับการบริหาร เห็นว่าควรจะนำเผยแพร่ทั้งในกลุ่มของนักศึกษากันเองและผู้ที่สนใจโดยทั่วไป จึงได้จัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ขึ้นมา

วัฒนธรรมท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้บ้านอ่างเตย ตำบลท่าตะเกียบ อำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา

โดย : อารียา บุญทวี

ผู้แต่งร่วม : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรม และท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 390.09593 อ663ว 2564

ข้อมูลการพิมพ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม : 60 หน้า : ภาพประกอบสี, ตาราง, แผนที่, แผนภูมิ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : บ้านอ่างเตย ตั้งอยู่หมู่ที่9 ตำบลท่าตะเกียบ อำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา มีวัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเพณีท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ทางเศรษฐกิจพอเพียง  ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จึงลงพื้นที่เก็บข้อมูลวัฒนธรรมท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้บ้านอ่างเตยให้กับชุมชนบ้านอ่างเตย และโรงเรียนบ้านอ่างเตย ตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ภาษา(eng)

โดย : อารียา บุญทวี

ผู้แต่งร่วม : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 390.09593 อ663ภ 2564

ข้อมูลการพิมพ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม : 60 หน้า : ภาพประกอบสี, ตาราง, แผนที่,แผนภูมิ ; 29 ซม.

สรุปสาระสังเขป :  ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ภาษา จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวม ประวัติความเป็นมาของตำบลเทพราช ภูมิปัญญาด้านอาหาร ภูมิปัญญาด้านสมุนไพร ภูมิปัญญาด้านประเพณี ภูมิปัญญาด้านดนตรีไทย ภูมิปัญญาด้านทัศนศิลป์ และภูมิปัญญาด้านเกษตรกรรม

วัฒนธรรมท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้บ้านนางาม ตำบลท่ากระดาน อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา

 * (ไม่มีไฟร์เอกสาร)

สามารถติดต่อยืมตัวเล่มได้ที่หอสมุดกลาง

โดย : อารียา บุญทวี
ผู้แต่งร่วม : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 390.09593 อ663ว 2564

ข้อมูลการพิมพ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม : 76 หน้า : ภาพประกอบสี, ตาราง, แผนที่, แผนภูมิ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : บ้านนางาม หมู่ที่ 19 ตำบลท่ากระดาน อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา เดิมการปกครองขึ้นอยู่กับบ้านนายาว หมู่ที่ 15 ประชาการส่วนใหญ่ย้ายมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการประกอบอาชีพทำนา ทำไร่ เมื่อมีประชากรย้ายเข้ามาอยู่ในหมู่บ้านจำนวนมากจึงแยกการปกครองหมู่บ้านออกเป็นบ้านนางาม ทั้งนี้ในสมัยก่อนประชาชนในหมู่บ้านปลูกข้าวเป็นจำนวนมากโดยต้นข้าวงอกงามไม่ต้องใช้สารเคมี จึงชื่อว่า “หมู่บ้านนางาม” นอกจากนี้บ้านนางามมีวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น นำไปสู่พลังทางวัฒนธรรมชุมชน และแหล่งเรียนรู้ของกลุ่มสตรีที่สร้างอาชีพ สร้างรายได้ภายใต้โครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นำไปสู่การพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

80 นกถิ่นราชนครินทร์ = 80 Common birds in Rajanagarindra(ไม่มีไฟล์เอกสาร)

โดย: เอกชัย ไชยดา

เลขเรียกหนังสือ : 598.29593 อ873ป

ข้อมูลการพิมพ์ : พิษณุโลก : สำนักพิมพ์รัตนสุวรรณการพิมพ์ 3, 2563

รายละเอียดตัวเล่ม : 133 หน้า : ภาพประกอบสี ; 21 ซม.

ISBN : 9789748234991

สาระสังเขป :  หนังสือ “80 นกถิ่นราชนครินทร์” พูดถึงการให้ความสำคัญกับการดูแลสิ่งแวดล้อม ภายใต้ความคิด “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนเรื่องที่ตั้งและโครงสร้างพื้นฐาน(Setting And infrastucture) การจัดการพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(Energy and Climate Change) การจัดการของเสีย(Waste management) การจัดการน้ำ(Water usage) การขนส่งที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Transportation)

รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ผ้าขาวม้าสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของกลุ่มสตรีตัดเย็บบ้านนายาว อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา = Value creation of Loincloth products to creative economy of women sewing group at Nayao villege, Sanam Chai Khet district, Chachoengsao province(ไม่มีไฟล์เอกสาร)

โดย: อารียา บุญทวี

ผู้แต่งร่วม: จินดา เนื่องจำนงค์, [ผู้วิจัย]

เลขเรียกหนังสือ: 391.4 อ663ร 2564

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม: ก-ฌ, 62 แผ่น : ภาพประกอบ, ตาราง, แผนภูมิ ; 29 ซม.

บทคัดย่อ : –

แผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2565 – พ.ศ. 2569

ผู้แต่งร่วม : สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดฉะเชิงเทรา. สภาเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา. ส่วนยุทธศาสตร์การเกษตร

เลขเรียกหนังสือ : 630.20112 ผ931 2564

ข้อมูลการพิมพ์ : ฉะเชิงเทรา : ม.ป.พ. 2564

รายละเอียดตัวเล่ม : 137 แผ่น : ภาพประกอบสี, ตารางล แผนภูมิ, แผนผัง ; 29 ซม.

สาระสังเขป : กรอบยุทธศาตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2580) ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขัน และพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่12 (พ.ศ.2560 – พ.ศ.2564)ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ประกอบกับพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติพ.ศ.2553 กำหนดให้สภาเกษตรแห่งชาติจัดทำแผนแม่บทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม โดยเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัดโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วยเสีย รวมทั้งเชื่อมโยงกับแผนแม่บทระดับจังหวัด

องค์ความรู้ย้อนรอยเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชผ่านมืองฉะเชิงเทรา(ไม่มีไฟล์เอกสาร)

โดย: ธนเทพ ศิริพัลลพ

ผู้แต่งร่วม: วชิรพงศ์ มณีนันทิวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 923.1593 ธ311อ 2564

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม: 90 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง, แผนที่, แผนภูมิ ; 29 ซม.

สรุปสาระสังเขป : ย้อนรอยเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระเจ้าตากมหาราชผ่านเมืองฉะเชิงเทรา ได้ออกพระนามของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแตกต่างกันในแต่ละห้วงเวลา เพื่อให้สอดคล้องกับพระสถานภาพ และการออกพระนามตามเอกสารต่างๆที่นำมาอ้างอิง

องค์ความรู้เทคนิคการย้อมผ้าสีธรรมชาติและการออกแบบลายผ้าไทยสู่การสร้างเอกลักษณ์ชองชุมชนบ้านอ่างเตย อำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา(ไม่มีไฟล์เอกสาร)

ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 746.09593 อ114 2564

ข้อมูลการพิมพ์ : กรุงเทพฯ : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม : 79 แผ่น ; ภาพประกอบ, ตาราง, แผนที่, แผนภูมิ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : ผ้าไทยถือเป็นศิลปหตถกรรมมรดกวัฒนธรรมอันล้ำค่าที่สมควรอนุรักษ์ไว้ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงอนุรักษ์ผ้าไทย ทำให้ผ้าไทยคงอยู่คู่แผ่นดิน นำไปสู่กระบวนการการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น – ผ้าไทย และหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ในประเภทผ้าและเครื่องแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดฉะเชิงเทรา

มรดกภูมิปัญญาอาหารพื้นถิ่นและขนมพื้นถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา(ไม่มีไฟล์เอกสาร)

 ผู้แต่งร่วม : จินดา เนื่องจำนงค์ ,  มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 641.59593 ม192 2564

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม : ก-ซ, 63 หน้า : ภาพประกอบสี, ตาราง ; 29.5 ซม.

สาระสังเขป  : หนังสือภูมิปัญญาอาหารพื้นนถิ่นและขนมพื้นถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการรวบรวมองค์ความรู้อาหารพื้นถิ่น และขนมไทยในจังหวัดฉะเชิงเทรา ไม่ให้เสี่ยงต่อการสูญหาย และเป็นการส่งเสริม อนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาอาหารพื้นถิ่นและขนมพื้นถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทราโดยเลือกพื้นที่ในการจัดทำอาหารพื้นถิ่นและขนม จำนวน11อำเภอ ได้เลือกแบบเจาะจง(Purposive Selection) ในการลงพื้นที่สัมภาษณ์ ผู้ทรงภูมิปัญญอาหารและขนมพื้นถิ่น จำนวน 6 อำเภอ