Search for:
รายงานการวิจัยการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์/นายจินดา  เนื่องจำนงค์  

ผู้วิจัย :

  1. นายจินดา  เนื่องจำนงค์   ผู้วิจัย
  2. น.ส.อารียา  บุญทวี  ผู้วิจัย
  3. นายกิจจา  สิงห์ยศ  ผู้วิจัย
  4. น.ส.อรวรรณ  เล็กชะอุ่ม  ผู้วิจัยร่วม
  5. น.ส.นวลลออ  อนุสิทธิ์  ผู้วิจัยร่วม
  6. น.ส.ฐิติรัตน์  เอนกสุวรรณกุล  ผู้วิจัยร่วม
  7. นายนวพันธ์  เที่ยงเจริญ  ผู้วิจัยร่วม

สถาบัน/หน่วยงาน : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ฉะเชิงเทรา

ปี  : 2551

จำนวนหน้า : 85 หน้า

บทคัดย่อ :  การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์

  1. เพื่อศึกษาการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตของนักศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์
  2. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

องค์ความรู้วัฒธรรมท้องถิ่น เรื่อง “การละเล่นพื้นบ้านในกลุ่มเบจญบูรพา”Thai – English Booklet “Thai Traditional Games in the Five Eastern Province Cluster”

ผู้แต่ง : คณะผู้บริหารและบุคลากรศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2558

บรรณลักษณ์ : 124 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : ในปีงบประมาณ 2558 ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น ได้ร่วมมือกับสาขาภาษาอังกฤษคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้จัดทำหนังสือความรุ้วัฒนธรรมท้องถิ่น เรื่อง “การละเล่นพื้นบ้านในกลุ่มเบจญบูรพา” ฉบับไทย – อังกฤษ เพื่อรองรับการเข้าสุ่ประชาคมอาเซียน และเผยแพร่การละเล่นซึ่งเป็นภูมิปัญญา วิถีชีวิตให้คนรุ่นหลังได้รับทราบ

ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดฉะเชิงเทราฉบับไทย-อังกฤษ = Thai-English booklet local cultures and traditions in Chachoengsao

ผู้แต่ง : ผู้แต่งร่วม: อารียา บุญทวี ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 390.9593 ป332

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2557

บรรณลักษณ์ : 92 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มีพันธกิจในการส่งเสริม อนุรักษ์ ทำนุบำรุงและสร้างสรรค์งานศิลปะ วัฒนธรรม เป็นที่พึ่งทางภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ เล็งเห็นว่าจังหวัดฉะเชิงเทรามีวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่น่าสนใจจึงได้ร่วมมือกับสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาตร์ จึงได้จัดทำหนังสือ ประเพณีวัฒธรรมท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับไทย – อังกฤษ เพื่อเผยแพร่เอกลักษณ์ วิถีชวิติ ความเชื่อ ประเพณีในจังหวัดฉะเชิงเทราที่สืบทอดต่อกันมาให้อนุชนรุ่นหลังได้ทราบ

ข้อมูลรายงานเบื้องต้น มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา เรื่องประเพณีการทำขวัญข้าว

ผู้แต่ง : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น | สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา
เลขเรียกหนังสือ : 390.09593 ข
พิมพ์ที่ : ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ; สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา, 2561
รายละเอียด : 22, แผ่น ; ภาพประกอบสี, ตาราง ; 29 ซม.
ข้อมูลรายการเบื้องต้นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา : ตำนานหลวงพ่อพุทธโสธร

ผู้แต่ง : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น | สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

เลขเรียกหนังสือ : 294.3435 ข282

พิมพ์ที่ : ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ; สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา, 2561

รายละเอียดเล่ม : 37, แผ่น ; ภาพประกอบสี, ตาราง ; 29 ซม.

ข้อมูลรายการเบื้องต้นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา : ประเพณีแห่ธงตะขาบ 
ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น | สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

เลขเรียกหนังวสือ : 390.09593 ข282

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ; สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา, 2561

รายละเอียดตัวเล่ม: 47 แผ่น ; ภาพประกอบสี, ตาราง ; 29 ซม.

วีดีทัศน์ : ประเพณีขวัญข้าว

ข้อมูลรายงานเบื้องต้น มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา

“ประเพณีการทำขวัญข้าว”

โดย : สภาวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

ร่วมกับ สภาวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิเทรา ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภักราชนครินทร์

สนับสนุนโดย :  กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

วีดีทัศน์ : ประเพณีแห่ธงตะขาบ

ข้อมูลรายงานเบื้องต้น มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา

เรื่อง :”ประเพณีแห่ธงตะขาบ”

โดย : สภาวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

ร่วมกับ สภาวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิเทรา ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภักราชนครินทร์

สนับสนุนโดย  : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

วีดิทัศน์ : ตำนานหลวงพ่อพุทธโสธร

ข้อมูลรายงานเบื้องต้น มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา

“ตำนานหลวงพ่อพุทธโสธร”

โดย : สภาวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

ร่วมกับ สภาวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิเทรา ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภักราชนครินทร์

สนับสนุนโดย  : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

วัฒนธรรมพื้นบ้าน จังหวัดฉะเชิงเทรา/รองศาสตราจารย์นารี  สาริกกะภูติ

ผู้แต่ง : รองศาสตราจารย์นารี  สาริกกะภูติ

พิมพ์ครั้งที่ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : 2528

บรรณลักษณ์ : 85 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.

สาระสังเขป : ฉะเชิงเทราเป็นจังหวัดสำคัญมาตั้งแต่อดีต เคยเป็นชุมชนเก่ามาช้านาน และมีความสำคัญอย่างยิ่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น กล่าวคือเป็นพื้นที่ๆคนอพยพ จากลาว กัมพูชา และมอญ เข้ามาตั้งรกรากอยุ่เป็นจำนวนมาก ด้วยเหตุผลทางการเมืองและภูมิศาสตร์ กลุ่มชนเหล่านี้นับถือพุทธศาสนา เมื่อเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยอันเป็นเมืองพุทธศาสนา