Search for:
ข้อมูลรายการเบื้องต้นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา : ประเพณีแห่ธงตะขาบ 
ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น | สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

เลขเรียกหนังวสือ : 390.09593 ข282

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ; สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา, 2561

รายละเอียดตัวเล่ม: 47 แผ่น ; ภาพประกอบสี, ตาราง ; 29 ซม.

วีดีทัศน์ : ประเพณีขวัญข้าว

ข้อมูลรายงานเบื้องต้น มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา

“ประเพณีการทำขวัญข้าว”

โดย : สภาวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

ร่วมกับ สภาวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิเทรา ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภักราชนครินทร์

สนับสนุนโดย :  กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

วีดีทัศน์ : ประเพณีแห่ธงตะขาบ

ข้อมูลรายงานเบื้องต้น มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา

เรื่อง :”ประเพณีแห่ธงตะขาบ”

โดย : สภาวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

ร่วมกับ สภาวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิเทรา ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภักราชนครินทร์

สนับสนุนโดย  : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

วีดิทัศน์ : ตำนานหลวงพ่อพุทธโสธร

ข้อมูลรายงานเบื้องต้น มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา

“ตำนานหลวงพ่อพุทธโสธร”

โดย : สภาวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา

ร่วมกับ สภาวัฒนธรรม จังหวัดฉะเชิเทรา ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภักราชนครินทร์

สนับสนุนโดย  : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

วัฒนธรรมพื้นบ้าน จังหวัดฉะเชิงเทรา/รองศาสตราจารย์นารี  สาริกกะภูติ

ผู้แต่ง : รองศาสตราจารย์นารี  สาริกกะภูติ

พิมพ์ครั้งที่ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : 2528

บรรณลักษณ์ : 85 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.

สาระสังเขป : ฉะเชิงเทราเป็นจังหวัดสำคัญมาตั้งแต่อดีต เคยเป็นชุมชนเก่ามาช้านาน และมีความสำคัญอย่างยิ่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น กล่าวคือเป็นพื้นที่ๆคนอพยพ จากลาว กัมพูชา และมอญ เข้ามาตั้งรกรากอยุ่เป็นจำนวนมาก ด้วยเหตุผลทางการเมืองและภูมิศาสตร์ กลุ่มชนเหล่านี้นับถือพุทธศาสนา เมื่อเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยอันเป็นเมืองพุทธศาสนา

ฉบับอำเภอบางน้ำเปรี้ยว

ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น.

เลขเรียกหนังสือ: 959.314  น931

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : บริษัท เอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท, 2562

รายละเอียดตัวเล่ม: 154 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง, แผนที่ ; 29 ซม.

สาระสังเขป :

ฉบับอำเภอพนมสารคาม

ผู้แต่ง :ประเสริฐ ศีลรัตนา จินดา เนื่องจำนงค์

เลขเรียกหนังสือ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2547

บรรณลักษณ์ : 108 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : อำเภอพนมสารคาม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่4โปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะเป้นเมืองพนมสารคาม เมื่อปี พ.ศ.2395 มีเจ้าเมืองปกครองในตำแหน่งพระพนมสารนรินทร์ แต่เดิมศาลาว่าการเมืองพนมสารคาม ตั้งอยุ่บริเวณวัดโพธิ์ใหญ่ ศาลหลักเมืองพนมสารคาม อยุ่ใกล้โรงเรียนวัดลาดเหนือ ในปี พ.ศ.2444 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยุ่หัว รัชกาลที่5 โปรดเกล้าฯ ให้ยุบเมืองพนมสารคามเป็น อำเภอพนมสารคาม โดยมีหลวงประเทศธุรารักษ์(แหยม สาริกะภูติ) เป็นนายอำเภอพนมสารคามเป็นคนแรก

ฉบับอำเภอสนามชัยเขต

ชื่อเรื่อง : แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับอำเภอสนามชัยเขต

ผู้แต่ง :ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์

เลขเรียกหนังสือ : –

พิมพ์ลักษณ์ :  เอ็มเอ็น ออฟเซท จำกัด ฉะเชิงเทรา

บรรณลักษณ์ : 100 หน้า :  –  ซม. 2561

สาระสังเขป : อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา แบ่งการปกครองเป็น 4 ตำบลได้แก่ ตำบลคู้ยายหมี ตำบลท่ากระดาน ตำบลลาดกระทิง และตำบลทุ่งพระยามีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงมีภูเขาและป่าไม้ มีลำคลองเป็นแนวกั้นเขต มีปราชญ์ชาวบ้าน แหล่งเรียนรู้ทางศิลปและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ทางการเกษตร รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรนำมารวบรวมเป็นองค์ความรู้ให้แก่อเภอสนามชัยเขต

ฉบับอำเภอแปลงยาว

ผู้แต่ง : วชิรพงศ์ มณีนันทิวัฒน์, โยธิน จี้กังวาฬ, อรวรรณ เล็กชะอุ่ม, ณัฐปนนท์ สิงห์ยศ, นวลลออ อนุสิทธิ์, ฐิติรัตน์ เอนกสุวรรณกุล, สุรพล โต๊ะสีดา

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2556

บรรณลักษณ์ : 80 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป :

ฉบับอำเภอบ้านโพธิ์

ผู้แต่ง : อารียา บุญทวี, วชิรพงษ์  มณีนันทิวัฒน์, สุนทรีย์ ธรรมสุวรรณ, ธีระวุฒิ  กลิ่นด้วง, นวงลออ อนุสิทธิ์, ณัฐปนนท์ สิงห์ยศ, ฐิติรัตน์ เอนกสุวรรณกุล, สุรพล โต๊ะสีดา, อรวรรณ  เล็กชะอุ่ม

เลขเรียกหนังสือ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2556

บรรณลักษณ์ : 74 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : การตั้งชุมชนของคนในสมัยดบราณมักเลือกทำเลอยุ่ใกล้แหล่งน้ำ เมื่ออพยพมาตั้งบ้านเรือนหลายๆ ครัวเรือนมากขึ้น ก็เกิดเป็นหมุ่บ้าน แล้วจึงสร้างวัด หรือศาสนสถานเอาไว้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ถ้าหากจะคาดคะเนว่าชุมชนใดมีอายุเท่าใด หลักฐานที่พอจะเป็นที่เชื่อถือได้ก็คือวัด