


รายงานการวิจัยประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร
โดย: วชิรพงศ์ มณีนันทิวัฒน์.
เลขเรียกหนังสือ: 390.9593 | ว152ร
ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 2563
รายละเอียดตัวเล่ม: 59 แผ่น : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.ชื่อเรื่องอื่น: ประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร.
บทคัดย่อ : วิจัยเรื่อง ประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร มีสัตถประสงค์ 1. เพื่อศึกษา เพื่อความเชื่อ การบนบานของประชาชนที่ส่งผลให้เกิดประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร 2. เพื่อศึกษาประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร 3. เพื่อศึกษากระบวนการสืบสาน สืบทอด ประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงได้แก่พระสงฆ์ ปราชญ์ท้องถิ่น สภาวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา สภาวัฒนธรรมอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา ที่เกี่ยวข้องกับประเพณีหลวงพ่อโสธร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ตำรา หนังสือ เอกสาร งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์ประวัติความเป็นมาของประเพณี และกระบวนการจัดงาน รวมทั้งการเข้าร่วมประเพณีเพื่อการมีส่วนร่วม

72 ปี สารภี คืนถิ่น
โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
ผู้แต่งร่วม: พรพรรณ นินนาท.
เลขเรียกหนังสือ :
การพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2553
รายละเอียดตัวเล่ม: 128 หน้า : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.

ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา(ไทย)
โดย: อารียา บุญทวี
ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น.
เลขเรียกหนังสือ: 390.09593 อ663ภ
ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2563
รายละเอียดตัวเล่ม: 46 แผ่น : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.

สถานที่สำคัญในจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเยือน
ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น.
เลขเรียกหนังสือ: 959.314 ส179
ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท, 2563
รายละเอียดตัวเล่ม: (ก-ช), 58 หน้า : ภาพประกอบสี ; 29.5 ซม.
สาระสังเขป : พระประวัติ สมเด้จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ — พระกรุณาธิคุณต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ — สถานที่สำคัญในจังหวัดฉะเชิงเทราที่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริทร์ เสด็จเยือน

องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องกระยาสารทในจังหวัดฉะเชิงเทรา
ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น.
เลขเรียกหนังสือ: 915.9314 อ113
ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2563
รายละเอียดตัวเล่ม: 26 แผ่น : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.
สาระสังเขป :

รายงานการสร้างสรรค์งานประดิษฐ์กระบวนการสร้างสรรค์การประดิษฐ์เข็มกลัดติดเสื้อดอกสารภีที่เป็นอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
โดย : ณัฐปนนท์ สิงห์ยศ
ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น.
เลขเรียกหนังสือ: 745.5943 ณ336ร
ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2563
รายละเอียดตัวเล่ม: ก-ฉ, 60 แผ่น : ภาพประกอบสี, ตาราง ; 29 ซม.

70 ปี จากฝึกหัดครู…สู่มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
ผู้แต่งร่วม: พรพรรณ นินนาท
เลขเรียกหนังสือ: 378.05 ร425จ 2553
ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2553
รายละเอียดตัวเล่ม: 71 หน้า : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.

เรือ
ชื่อเรื่อง : เรือ
ผู้แต่ง : ประเสริฐ ศรีรัตนา, อ.จินดา เนื่องจำนงค์
เลขเรียกหนังสือ : –
บรรณลักษณ์ : 24 หน้า : – ซม.
สาระสังเขป : เรือเป็นยนตกรรม แห่งภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาชาวบ้านที่ช่วยให้มนุษย์ขับเครื่องเดินทางไปในลำน้ำ ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพท้องถิ่นกับธุรกรรมในอดีต แต่เรือในปัจจุบัน อาจนับได้ว่าเป็นเพียงมรดกในประวัติศาสตร์ที่เลื่อนลางจางหายไปกับกาลเวลา

ภูมิปัญญาด้านเกษตรกรรมในจังหวัดฉะเชิงเทรา
ชื่อเรื่อง : ภูมิปัญญาด้านเกษตรกรรมในจังหวัดฉะเชิงเทรา
ผู้แต่ง :ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
เลขเรียกหนังสือ : –
พิมพ์ลักษณ์ : เอ็มเอ็น ออฟเซท จำกัด ฉะเชิงเทรา
บรรณลักษณ์ : 144 หน้า : – ซม. 2562
สาระสังเขป : ในปี พ.ศ. 2562 จึงได้จัดทำ “หนังสือภูมิปัญญาด้านเกษตรกรรมในจังหวัดฉะเชิงเทรา” โดยได้รับ
ความอนุเคราะห์จากสำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สำนักงานเกษตรอำเภอทุกอำเภอ และเกษตรอำเภอทุกท่านในจังหวัดฉะเชิงเทรา ในการลงพื้นที่เก็บข้อมูล
เกษตรกรที่เป็นต้นแบบทางการเกษตร อำเภอละ 3 ท่าน