Search for:
องค์ความรู้ย้อนรอยเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชผ่านมืองฉะเชิงเทรา(ไม่มีไฟล์เอกสาร)

โดย: ธนเทพ ศิริพัลลพ

ผู้แต่งร่วม: วชิรพงศ์ มณีนันทิวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 923.1593 ธ311อ 2564

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม: 90 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง, แผนที่, แผนภูมิ ; 29 ซม.

สรุปสาระสังเขป : ย้อนรอยเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระเจ้าตากมหาราชผ่านเมืองฉะเชิงเทรา ได้ออกพระนามของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแตกต่างกันในแต่ละห้วงเวลา เพื่อให้สอดคล้องกับพระสถานภาพ และการออกพระนามตามเอกสารต่างๆที่นำมาอ้างอิง

องค์ความรู้เทคนิคการย้อมผ้าสีธรรมชาติและการออกแบบลายผ้าไทยสู่การสร้างเอกลักษณ์ชองชุมชนบ้านอ่างเตย อำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา(ไม่มีไฟล์เอกสาร)

ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 746.09593 อ114 2564

ข้อมูลการพิมพ์ : กรุงเทพฯ : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม : 79 แผ่น ; ภาพประกอบ, ตาราง, แผนที่, แผนภูมิ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : ผ้าไทยถือเป็นศิลปหตถกรรมมรดกวัฒนธรรมอันล้ำค่าที่สมควรอนุรักษ์ไว้ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงอนุรักษ์ผ้าไทย ทำให้ผ้าไทยคงอยู่คู่แผ่นดิน นำไปสู่กระบวนการการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น – ผ้าไทย และหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ในประเภทผ้าและเครื่องแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดฉะเชิงเทรา

มรดกภูมิปัญญาอาหารพื้นถิ่นและขนมพื้นถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา(ไม่มีไฟล์เอกสาร)

 ผู้แต่งร่วม : จินดา เนื่องจำนงค์ ,  มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 641.59593 ม192 2564

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม : ก-ซ, 63 หน้า : ภาพประกอบสี, ตาราง ; 29.5 ซม.

สาระสังเขป  : หนังสือภูมิปัญญาอาหารพื้นนถิ่นและขนมพื้นถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการรวบรวมองค์ความรู้อาหารพื้นถิ่น และขนมไทยในจังหวัดฉะเชิงเทรา ไม่ให้เสี่ยงต่อการสูญหาย และเป็นการส่งเสริม อนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาอาหารพื้นถิ่นและขนมพื้นถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทราโดยเลือกพื้นที่ในการจัดทำอาหารพื้นถิ่นและขนม จำนวน11อำเภอ ได้เลือกแบบเจาะจง(Purposive Selection) ในการลงพื้นที่สัมภาษณ์ ผู้ทรงภูมิปัญญอาหารและขนมพื้นถิ่น จำนวน 6 อำเภอ

งานสร้างสรรค์เรื่องการออกแบบตัวอักษรไทยประดิษฐ์ด้วยเทคนิคการเขียนจากวัสดุธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห์(ไม่มีไฟล์เอกสาร)

ผู้แต่งร่วม : จินดา เนื่องจำนงค์, [ผู้สร้างสรรค์งาน] | นวลลออ อนุสิทธิ์, [ผู้ร่วมสร้างสรรค์งาน] | มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น

เลขเรียกหนังสือ : 745.61 ง319 2564

ข้อมูลการพิมพ์ : ฉะเชิงเทรา : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2564

รายละเอียดตัวเล่ม : ก-ซ, 75 หน้า : ภาพประกอบขาวดำ ; 29 ซม.

สาระสังเขป :  การออกแบบตัวอักษรไทยประดิษฐ์ด้วยเทคนิคการเขียนจากวัสดุธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห์ รวบรวม ทดลองสร้างสรรค์ด้วยการนำวัสดุธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห์มาสร้างตามจินตนาการของผู้สร้างสรรค์และคณะจนเกิดเป็นชุดฟอนต์อักษรไทยประดิษฐ์ พร้อมด้วย สระ วรรณยุกต์ ตัวเลขไทยที่เป็นลักษณะเฉพาะของตังบุคคล ซึ่งสามารถนำไปใช้กับงานกราฟิก สื่อพิมพ์ ชื่อร้าน หรืออื่นๆงานโฆษณาประชาสัมพันธ์ งานเขียนป้ายด้วยมือ การออกแบบเฉพาะคำ และเป็นต้นแบบให้กับผู้สนใจได้ศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง

องค์ความรู้เรื่องดอกสารภี : อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (ขาดไฟล์เอกสาร)

ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น.

ชื่อชุด: ภายใต้โครงการส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรมสู่การสร้างอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

เลขเรียกหนังสือ: 580 อ114 2563

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2563

องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น – ผ้าไทย กลุ่มสตรีตัดเย็บบ้านนายาว อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา

เรื่อง :องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น-ผ้าไทย : กลุ่มสตรีตัดเย็บบ้านนายาว อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา

โดย : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

เลขเรียกหนังสือ : 746.09593 อ114 2563

รายละเอียด : 46 หน้า : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.

ข้อมูลการพิมพ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท, 2563

ชุมชนปลูกหม่อนเลี้ยงไหมทอผ้าชาวอ่างเตย อ.ท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา

โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น. เลขเรียกหนังสือ : 746.09593 อ114 2563 ข้อมูลการพิมพ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท, 2563 รายละเอียดเล่ม : 60 หน้า : ภาพประกอบสี ; 29 ซม. สาระสังเขป : –
รายงานการวิจัยประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร

โดย: วชิรพงศ์ มณีนันทิวัฒน์.

เลขเรียกหนังสือ: 390.9593 | ว152ร

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 2563

รายละเอียดตัวเล่ม: 59 แผ่น : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.ชื่อเรื่องอื่น: ประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร.

 บทคัดย่อ : วิจัยเรื่อง ประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร มีสัตถประสงค์ 1. เพื่อศึกษา เพื่อความเชื่อ การบนบานของประชาชนที่ส่งผลให้เกิดประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร 2. เพื่อศึกษาประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร 3. เพื่อศึกษากระบวนการสืบสาน สืบทอด ประเพณีแห่หลวงพ่อโสธร กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงได้แก่พระสงฆ์ ปราชญ์ท้องถิ่น สภาวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา สภาวัฒนธรรมอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา ที่เกี่ยวข้องกับประเพณีหลวงพ่อโสธร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ตำรา หนังสือ เอกสาร งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์ประวัติความเป็นมาของประเพณี และกระบวนการจัดงาน รวมทั้งการเข้าร่วมประเพณีเพื่อการมีส่วนร่วม

72 ปี สารภี คืนถิ่น

โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ผู้แต่งร่วม: พรพรรณ นินนาท.

ลขเรียกหนังสือ :

การพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2553

รายละเอียดตัวเล่ม: 128 หน้า : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.

ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา(ไทย)

โดย: อารียา บุญทวี

ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น.

เลขเรียกหนังสือ: 390.09593 อ663ภ

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2563

รายละเอียดตัวเล่ม: 46 แผ่น : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.