Search for:
ฉบับอำเภอบางน้ำเปรี้ยว

ผู้แต่งร่วม: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น.

เลขเรียกหนังสือ: 959.314  น931

ข้อมูลการพิมพ์: ฉะเชิงเทรา : บริษัท เอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท, 2562

รายละเอียดตัวเล่ม: 154 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง, แผนที่ ; 29 ซม.

สาระสังเขป :

ฉบับอำเภอพนมสารคาม

ผู้แต่ง :ประเสริฐ ศีลรัตนา จินดา เนื่องจำนงค์

เลขเรียกหนังสือ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2547

บรรณลักษณ์ : 108 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : อำเภอพนมสารคาม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่4โปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะเป้นเมืองพนมสารคาม เมื่อปี พ.ศ.2395 มีเจ้าเมืองปกครองในตำแหน่งพระพนมสารนรินทร์ แต่เดิมศาลาว่าการเมืองพนมสารคาม ตั้งอยุ่บริเวณวัดโพธิ์ใหญ่ ศาลหลักเมืองพนมสารคาม อยุ่ใกล้โรงเรียนวัดลาดเหนือ ในปี พ.ศ.2444 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยุ่หัว รัชกาลที่5 โปรดเกล้าฯ ให้ยุบเมืองพนมสารคามเป็น อำเภอพนมสารคาม โดยมีหลวงประเทศธุรารักษ์(แหยม สาริกะภูติ) เป็นนายอำเภอพนมสารคามเป็นคนแรก

ฉบับอำเภอสนามชัยเขต

ชื่อเรื่อง : แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับอำเภอสนามชัยเขต

ผู้แต่ง :ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์

เลขเรียกหนังสือ : –

พิมพ์ลักษณ์ :  เอ็มเอ็น ออฟเซท จำกัด ฉะเชิงเทรา

บรรณลักษณ์ : 100 หน้า :  –  ซม. 2561

สาระสังเขป : อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา แบ่งการปกครองเป็น 4 ตำบลได้แก่ ตำบลคู้ยายหมี ตำบลท่ากระดาน ตำบลลาดกระทิง และตำบลทุ่งพระยามีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงมีภูเขาและป่าไม้ มีลำคลองเป็นแนวกั้นเขต มีปราชญ์ชาวบ้าน แหล่งเรียนรู้ทางศิลปและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ทางการเกษตร รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรนำมารวบรวมเป็นองค์ความรู้ให้แก่อเภอสนามชัยเขต

ฉบับอำเภอแปลงยาว

ผู้แต่ง : วชิรพงศ์ มณีนันทิวัฒน์, โยธิน จี้กังวาฬ, อรวรรณ เล็กชะอุ่ม, ณัฐปนนท์ สิงห์ยศ, นวลลออ อนุสิทธิ์, ฐิติรัตน์ เอนกสุวรรณกุล, สุรพล โต๊ะสีดา

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2556

บรรณลักษณ์ : 80 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป :

ฉบับอำเภอบ้านโพธิ์

ผู้แต่ง : อารียา บุญทวี, วชิรพงษ์  มณีนันทิวัฒน์, สุนทรีย์ ธรรมสุวรรณ, ธีระวุฒิ  กลิ่นด้วง, นวงลออ อนุสิทธิ์, ณัฐปนนท์ สิงห์ยศ, ฐิติรัตน์ เอนกสุวรรณกุล, สุรพล โต๊ะสีดา, อรวรรณ  เล็กชะอุ่ม

เลขเรียกหนังสือ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2556

บรรณลักษณ์ : 74 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : การตั้งชุมชนของคนในสมัยดบราณมักเลือกทำเลอยุ่ใกล้แหล่งน้ำ เมื่ออพยพมาตั้งบ้านเรือนหลายๆ ครัวเรือนมากขึ้น ก็เกิดเป็นหมุ่บ้าน แล้วจึงสร้างวัด หรือศาสนสถานเอาไว้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ถ้าหากจะคาดคะเนว่าชุมชนใดมีอายุเท่าใด หลักฐานที่พอจะเป็นที่เชื่อถือได้ก็คือวัด

ฉบับอำเภอบางคล้า

ผู้แต่ง : ผศ.ประเสริฐ ศีลรัตนา อ. จินดา  เนื่องจำนงค์

เลขเรียกหนังสือ : 959.314 น931

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2556

บรรณลักษณ์ : 143 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : ตำบลนี้แต่เดิม เรียก”ตำบลบางกระดาน” มีขุนกระเจ็ดเป็นกำนันตำบลคนแรก โดยมีกลุ่มบ้านจำนวน 7 บาง ในการปกครอง คือ บางเตย  บางกระพ้อ บางอ้ายไร่ บางกระดาน บางต้นจิก และบางชีล้อม ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อจากตำบลบางกระดาน เป็นบางกระเจ็ด

ฉบับอำเภอท่าตะเกียบ

ผู้แต่ง :วชิรพงษ์  มณีนันทิวัฒน์,สุนทรีย์ ธรรมสุวรรณ, ธีระวุฒิ  กลิ่นด้วง, นวงลออ อนุสิทธิ์, ณัฐปนนท์ สิงห์ยศ, ฐิติรัตน์ เอนกสุวรรณกุล, สุรพล โต๊ะสีดา, อรวรรณ  เล็กชะอุ่ม

เลขเรียกหนังสือ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2559

บรรณลักษณ์ : 142 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : อำเภอท่าตะเกียบเกี่ยวข้องกับเมืองหลวงสมัยรัชกาลที่ 3 ในสถานะบทบาทด้านวัฒนธรรมด้านศาสนา คือเสาชิงช้า ที่บริเวณวัดสุทัศน์เทพวราราม เป้นกิ่งอำเภอท่าตะเกียบ ในฐานะบทบาทการเมืองการปกครอง และได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอเมื่อปี พ.ศ.2539 เป้นเมืองชายแดนที่อยู่ห่างจากตัวจังหวัด ประมาณ 100 กิโลเมตร ในฐานะที่เป็นจังหวัดที่เชื่อมต่อกับจังหวัดอื่นในภาคตะวันออกที่ครอบคลุมอยู่ในพื้นที่เขตรอยต่อ 5 จังหวัด(ภาคตะวันออก) บางพื้นที่ยังมีสภาพป่าที่สมบูรณ์จนได้รับการย่องย่องให้เป็นคำขวัญประจำจังหวัดคื  ป่าฤาไน ป่าสมบูรณ์

ฉบับอำเภอราชสาส์น

ผู้แต่ง : ผ.ศ.ประเสริฐ ศีลรัตนา, อ.จินดา  เนื่องจำนงค์

เลขเรียกหนังสือ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2556

บรรณลักษณ์ : 39 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : อำเภอราชสาส์นเดิมเป็นพื้นที่เขตปกครองของอำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ต่อมากระทรวงมหาดไทยได้มีประกาศกำหนดให้ตำบลบางคา ตำบลดงน้อง และตำบลเมืองใหม่ แยกการปกครองจากอำเภอพนมสารคาม และได้รับการจัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอราชสาส์นตั้งอยู่ในหมู่ที่ 2 ตำบลนาคาในที่ดินนายอั๋น มันทสูตร์ยกให้แก่ทางราชการจำนวน 25 ไร่ 3 งาน 50 ตารางวาได้รับการยกย่องเป็นอำเภอราชสาส์นตามราชกิจานุเบกษา เล่ม 111 ตอนที่ 21 หน้า 32 – 33 วันที่ 3 มิถุนายน 2537

ฉบับอำเภอเมือง

ชื่อเรื่อง : แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา : ฉบับอำเภอเมือง

ผู้แต่ง :ประเสริฐ ศีลรัตนา จินดา เนื่องจำนงค์

เลขเรียกหนังสือ :

พิมพ์ครั้งที่ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2547

บรรณลักษณ์ : 108 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : เมืองฉะเชิงเทราในอดีต นับตั้งแต่เริ่มตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชะานีหรือก่อนหน้านี้หากจะสืบหาข้อมูลทางประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง โดยอาศัยหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อัษร หรือหลักฐานทางด้านโบราณคดีนั่นนับเป็นสิ่งที่หายาก จะมีก็แตหลักฐานที่เป็นคำบอกเล่า กล่าวขานสืบต่อกันมาเสียเป็นส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ ปรากฏการณ์หรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับวัตถุและสถานที่ ล้วนไม่สามารถจะยืนยัน ได้แน่ชัดลงไปว่าจริงหรือเท็จประการใด จึงทำให้ประวัติศาสตร์เกี่ยวกับฉะเชิงเทรา ทั้งที่เป็นประวัติความเป็นมาของเมือง สถานที่ วัตถุ ฯลฯ ในช่วงก่อนกรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี ส่วนใหญ่ยังอยุ่ในลักษณะคลุมเครือ

ฉบับอำเภอบางปะกง

ผู้แต่ง :วชิรพงษ์  มณีนันทิวัฒน์ ,สุนทรีย์ ธรรมสุวรรณ,ธีระวุฒิ  กลิ่นด้วง, นวงลออ อนุสิทธิ์, ณัฐปนนท์ สิงห์ยศ, ฐิติรัตน์ เอนกสุวรรณกุล, สุรพล โต๊ะสีดา, อรวรรณ  เล็กชะอุ่ม

เลขเรียกหนังสือ :

พิมพ์ลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท, 2558

บรรณลักษณ์ : 108 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.

สาระสังเขป : อำเภอบางปะกงมีลักษณะภูมิประเทศ ที่เป็นราบลุ่มแม่น้ำสูงกว่าระดับน้ำทะเลเล็กน้อย พื้นที่บางส่วนอยุ่ติดทะเล เป็นป่าชายเลน ทำให้แม่น้ำบางปะกงมีสภาพ น้ำจืดน้ำเค็มสลับกันประมาณ 6 เดือน ก่อให้เกิดรูปแบบวิถีการหล่อเลี้ยงชีวิต วัฒนธรรมเฉพาะลุ่มน้ำบางปะกง มีความหลากหลายทางด้านชาติพันธ์ ศิลป วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่ควรค่าศึกษาและอนุรักษ์ไว้ศึกษาต่อไป